Page 46 - FoodFocusThailand No.156 March 2019
P. 46

SOMETHING ABOUT FOOD


                       กัญญาณี แสงเกียรติยุทธ
                       Kanyanee Seangkiatiyuth
                       Standard and Innovation Driving Center for Sustainability
                       Central Laboratory (Thailand) Co., Ltd.
                       centrallabthai.clt@gmail.com
            สุขภาพดี…





            เริ่มต้นด้วยฉลาก







            ผู้บริโภคส่วนใหญ่จะเลือกซื้อสินค้าและบริการจากยี่ห้อ    information) การอ่านข้อมูลบนฉลากโภชนาการจะช่วยให้ผู้บริโภค
            (แบรนด์)  โดยไม่สนใจที่จะอ่านฉลากเล็กๆ  ที่ติดอยู่ที่ตัว  สามารถเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมตรงตามภาวะโภชนาการ สามารถ
            ผลิตภัณฑ์ (สินค้าและบริการ) หรือบรรจุภัณฑ์ ท�าให้พลาด   เปรียบเทียบเพื่อเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหารยี่ห้อที่ให้ประโยชน์ต่อผู้บริโภค
            โอกาสในการรับข้อมูลอันเป็นประโยชน์ที่สามารถใช้ในการ-                    มากที่สุด ที่ส�าคัญยังช่วยให้ผู้ป่วยโรคไต โรคหัวใจ

            ตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าหรือบริการนั้นๆ                                      โรคไขมันในเลือดสูง ฯลฯ หรือกลุ่มผู้รักสุขภาพ
                                                                                         ที่จ�าเป็นต้องจ�ากัดปริมาณสารอาหารเลือก
                ผู้ผลิตจะมีการใส่ข้อมูลหรือสัญลักษณ์ที่เข้าใจได้ง่าย ใช้สื่อสารกับผู้บริโภค  บริโภคอาหารที่เหมาะสมได้  การระบุ
            ว่าสินค้าและบริการนั้นๆ ผลิตจากกระบวนการพิเศษ หรือมีคุณสมบัติพิเศษ             รายละเอียดของชนิดและปริมาณสาร-
            โดดเด่นอย่างไร เพื่อให้ผู้บริโภคมั่นใจได้ว่า ได้ซื้อสินค้าและบริการตรงกับ        อาหารที่มีในอาหารจะต้องระบุตามรูปแบบ
            ความต้องการ คุ้มค่าแก่เงินที่จ่ายไป                                             เงื่อนไขที่ก�าหนดโดยประกาศกระทรวง-
               ฉลากที่ติดบนตัวผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์ ส่วนมากจะสื่อสารให้ผู้บริโภค          สาธารณสุข  การปลอมแปลงฉลาก
            ทราบข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม และโภชนาการ โดยการติดฉลากด้านสิ่งแวดล้อม           โภชนาการถือเป็นความผิดตามกฎหมาย
            จะมีหลักเกณฑ์ตาม ISO 14020 ซึ่งจะก�าหนดหลักการพื้นฐานเกี่ยวกับ                      จะเห็นได้ว่าการแสดงฉลากสิ่งแวดล้อมและฉลาก
            การพัฒนาและการใช้ฉลากสิ่งแวดล้อม ผู้ผลิตอาจติดฉลากสิ่งแวดล้อมเอง   โภชนาการมีวัตถุประสงค์เพื่อสื่อสารด้วยข้อมูลสั้นๆ เข้าใจได้ง่ายและเป็น
            หรืออาจให้หน่วยงานกลางอื่นรับรองก่อนติดฉลากเพื่อเพิ่มความมั่นใจว่า            ประโยชน์ต่อผู้บริโภค
            สินค้าและบริการนั้นๆ มีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง ตัวอย่าง
            ข้อมูลที่ติดบนฉลากหรืออาจแสดงเป็นสัญลักษณ์ที่พบเจอบ่อยๆ เช่น
            สามารถย่อยสลายได้ มีอายุการใช้งานที่ยาวนาน สามารถแปรสภาพใช้ใหม่ได้
            (Recyclable) ลดการใช้น�้า (Reduced water consumption) เป็นมิตรกับ
            สิ่งแวดล้อม (Eco friendly) ผลิตจากสารธรรมชาติ ฯลฯ การติดฉลากด้าน
            สิ่งแวดล้อมเป็นการติดโดยผู้ผลิตเพื่อแสดงว่าสินค้า และบริการนั้นมีความ-
            เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมพิเศษมีความแตกต่างจากสินค้าและบริการอื่นๆ
            ดังนั้นการติดฉลากจึงต้องติดฉลากให้ชัดเจนมีความเกี่ยวข้องกับสินค้าและ
            บริการเพื่อหลีกเลี่ยงการสร้างความสับสนให้กับผู้บริโภค
                ฉลากโภชนาการเป็นอีกฉลากหนึ่งที่มีความส�าคัญต่อผู้บริโภค เป็น
            ฉลากที่แสดงข้อมูลโภชนาการของอาหารในกรอบสี่เหลี่ยม (Nutrition
















             44 FOOD FOCUS THAILAND  MAR  2019


         44-45_Stand out_Central Lab.indd   44                                                                       20/2/2562 BE   19:19
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51