Page 23 - FoodFocusThailand No.161 August 2019
P. 23
SPECIAL TALK BY FDA
SPECIAL TALK BY FDA
(8) ไดเอทธิลีนไกลคอล (diethylene glycol) หรือ ค�าอธิบายเพิ่มเติม/Additional Information
ไดไฮดรอกซีไดเอทธิล-อีเธอ o ข้อ (1) – (8) และ (12) เป็นเงื่อนไขเดิมที่ก�าหนดไว้ตามประกาศกระทรวง
(dihydroxydiethylether) หรือไดไกลคอล สาธารณสุข (ฉบับที่ 151) พ.ศ. 2536 เรื่อง ก�าหนดวัตถุที่ห้ามใช้ในอาหาร
(diglycol) หรือ 2,2-ออกซีบิส-เอทานอล o น�้ามันพืชที่ผ่านกรรมวิธีเติมโบรมีน (Brominated Vegetable Oil; BVO) ตามข้อ (1)
(2,2-oxybisethanol) หรือ 2,2-ออกซีได จัดเป็นวัตถุเจือปนอาหาร ที่ยังไม่อนุญาตการใช้ เนื่องจากขาดข้อมูลสนับสนุน
เอทานอล (2,2-oxydiethanol) ด้านความปลอดภัย ตามผลการประเมินความปลอดภัยขององค์กรสากล
(9) ดัลซิน (dulcin) หรือ 4-อีทอกซิฟินิลยูเรีย (The Joint FAO/WHO Expert Committee on Food Additives: JECFA)
(4-ethoxyphenylurea) หรือ พารา-ฟีเนททอล o ข้อ (9) – (11) เป็นเงื่อนไขเดิมที่ก�าหนดไว้ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข
คาร์บาไมด์ (para-phenetolcarbamide) (ฉบับที่ 358) พ.ศ.2556 เรื่อง ก�าหนดอาหารที่ห้ามผลิต น�าเข้า หรือจ�าหน่าย
(10) เอเอฟ-2 (AF-2) หรือ 2-(2-ฟูริล)-3-(5- o ข้อ (13) เป็นเงื่อนไขเดิมที่ก�าหนดไว้ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่
ไนโตร-2-ฟูริล) อะคริลาไมด์ (2-(2-furyl)-3- 344) พ.ศ.2555 เรื่อง ก�าหนดอาหารที่ห้ามผลิต น�าเข้า หรือจ�าหน่าย ทั้งนี้ ปริมาณที่
(5-nitro-2-furyl) acrylamide) หรือ ยอมให้ตรวจพบสารเมลามีนและสารในกลุ่มเมลามีนที่ไม่ได้เกิดจากเจตนาหรือ
ฟูริลฟูราไมด์ (furylfuramide) จงใจใช้ในอาหาร ให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเรื่อง
(11) โพแทสเซียมโบรเมต (potassium bromate) มาตรฐานอาหารที่มีสารปนเปื้อน หรือมาตรฐานที่ก�าหนดโดยคณะกรรมการ
(12) ฟอร์มาลดีไฮด์ (formaldehyde) สารละลาย โคเด็กซ์ สาขาสารปนเปื้อน (CODEX STAN 193-1995)
ฟอร์มาลดีไฮด์ (formaldehyde solution) o ข้อ (14) หมายถึง อาหารที่มีเจตนาหรือจงใจใช้สารหรืออาหารที่ก�าหนดไว้
และพาราฟอร์มาลดีไฮด์ ตามข้อ (1) - (13) เป็นส่วนประกอบ
(paraformaldehyde)
(13) สารเมลามีน และสารในกลุ่มเมลามีนเฉพาะ
กรดซัยยานูริก (cyanuric acid)
(14) อาหารที่มีการใช้ (1) – (13) เป็นส่วนประกอบ
3. ระยะเวลาบังคับใช้
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 391 (พ.ศ.2561)
ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 เรื่อง
ก�าหนดอาหารที่ห้ามผลิต น�าเข้า หรือจ�าหน่าย มีผลบังคับใช้
ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา คือ ตั้งแต่
วันที่ 26 กันยายน พ.ศ.2561 เป็นต้นไป
4. บทลงโทษ
ผู้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติให้เป็นไปตามประกาศฉบับนี้ ซึ่ง o The substances listed in (1) – (8) and (12) were originally prescribed in
the Notification of the Ministry of Public Health (No.151) B.E.2536 (1993)
ออกตามมาตรา 6(8) มีความผิดตามมาตรา 50 แห่ง Re: Prescribed substances prohibited from use in food.
พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 คือ ต้องระวางโทษ o Brominated Vegetable Oil (BVO) mentioned in (1) is a food additive whose
จ�าคุกตั้งแต่หกเดือนถึงสองปี และปรับตั้งแต่ 5,000- usage remains prohibited due to lack of substantiated information
regarding its safety in accordance with the safety evaluations of the Joint
20,000 บาท FAO/WHO Expert Committee on Food Additives (JECFA).
o The substances listed in (9) – (11) were originally prescribed in the
Notification of the Ministry of Public Health (No.358) B.E.2556 (2013) Re:
Prescribed foods prohibited from being produced, imported or sold.
o The substances listed in (13), melamine, were originally prescribed in the
Notification of the Ministry of Public Health (No.344) B.E.2555 (2012) Re:
Prescribed foods prohibited from being produced, imported or sold. The
maximum level of melamine and its analogs unintentionally added in food
shall comply with the Notifications of the Ministry of Public Health Re:
Standard of contaminants in foods or the CODEX STAN 193-1995 Codex
general standard for contaminants and Toxins in Food and Feed.
o Foods mentioned in (14) refers to foods that are adulterated with or
intentionally added with the substances prescribed in (1) – (13).
AUG 2019 FOOD FOCUS THAILANDFOOD FOCUS THAILAND 23 23
AUG 2019
22-24_Specia Talk_FDA.indd 23 19/7/2562 BE 08:11