Page 39 - FoodFocusThailand No.161 August 2019
P. 39

SMART PRODUCTION

                  การผลิตเบียร์
                  การผลิตเบียร์จะเริ่มจากการน�าน�้าร้อน และมอลต์ที่
                  บดแล้วจากไซโลไปต้มรวมกันในหม้อขนาดใหญ่ (Mash
                  tun) เพื่อให้เอนไซม์อะไมเลสจากมอลต์ท�าการย่อย
                  สลายแป้งธัญพืชให้กลายเป็นน�้าหวาน เรียกว่า
                  Wort จากนั้น Wort ที่ได้จะถูกน�าไปแยกในถัง Lauter
                  tun ซึ่งในกระบวนการนี้ ตะกอนของธัญพืชที่มาจาก
                  Mash tun จะทับกันเป็นชั้นท�าหน้าที่เป็นชั้นกรอง
                  โดยจะมีการล้างด้วยน�้า (Sparging) เพื่อเก็บเอา
                  น�้าหวานที่ตกค้างอยู่ในเมล็ดธัญพืชออกมาให้สมบูรณ์   แอลกอฮอล์สามารถส่งผลให้เกิดความมึนเมา และการตอบสนองที่ช้าลงได้ ก็ขอให้ทุกท่านดื่มแต่พอดี
                  โดยในถังจะมีแผงใบมีดที่คอยกรุยบนชั้นตะกอนเป็น  และ “เมาไม่ขับ” นะครับ
                  ทางให้น�้าหวานไหลผ่านไปได้ ต่อจากนั้น Wort ที่ได้จะ
                  ถูกส่งไปต้มเพื่อระเหยเอาน�้าออกให้ได้ Wort เข้มข้น
                  โดยมีการเติมฮอปส์เพื่อเพิ่มรสขม และกลิ่นสัมผัสของ
                  เบียร์ จากนั้นก็จะไปผ่านการกรองอีกครั้งใน Whirlpool
                  จนได้ Hopped wort ร้อนที่มีความใสตามที่ก�าหนด
                  ซึ่งต่อมาจะถูกท�าให้เย็นลงและเติมอากาศ จากนั้นก็
                  จะเติมยีสต์และส่งเข้าสู่ถังหมัก  (Fermentor)
                  กระบวนการในช่วงก่อนที่จะเข้าถึงการหมักนี้ก็จะมี
                  การควบคุมค่าต่างๆ อาทิ pH ค่าความขุ่น และ                                                      Visit us at:
                  ออกซิเจนละลาย เพื่อให้การหมักเกิดขึ้นอย่างเหมาะสม                                             Booth No. F17
                                                                                                                  Hall 102
                  ตามระยะเวลาที่ก�าหนด โดยไม่เกิดฟองล้นในถัง
                     ในขั้นตอนของการหมักจะมีการควบคุมอุณหภูมิ
                  อย่างเหมาะสม เพื่อเอื้อให้ยีสต์ท�าการเปลี่ยนน�้าตาล
                  ให้เป็นแอลกอฮอล์ ซึ่งระยะเวลาการหมักขึ้นอยู่กับ
                  วิธีการผลิตของแต่ละบริษัทฯ  ซึ่งอาจจะมีการหมัก 1
                  หรือ 2 ขั้นตอน ซึ่งเมื่อการหมักเสร็จสิ้นสารละลาย
                  แอลกอฮอล์ที่เกิดขึ้นก็จะถูกน�าไปแยกยีสต์ออก โดย
                  กระบวนการกรองต่างๆ จนใส แล้วน�าไปเจือจางกับน�้า                      Visit us at: Booth No. P20
                                                                                           Hall. 102
                  ให้ได้ปริมาณแอลกอฮอล์และสีตามที่ก�าหนด พร้อม
                  ทั้งเติมคาร์บอนไดออกไซด์เพื่อเพิ่มรสสัมผัสที่ซาบซ่า
                  ก็จะได้เป็น Bright beer พร้อมน�าไปเก็บในถังเพื่อรอ
                  การบรรจุและฆ่าเชื้อก่อนส่งถึงผู้บริโภรค ซึ่งขั้นตอน
                  ภายหลังกระบวนการหมักจะต้องควบคุมอย่างใกล้ชิด
                  เช่น ออกซิเจนที่ต้องมีให้น้อยที่สุด เนื่องจากจะส่งผล
                  ต่อรสชาติ กลิ่น และอายุการเก็บของเบียร์ ความขุ่น
                  ค่าสี แอลกอฮฮล์ ฯลฯ ดังนั้นแล้ว อุปกรณ์และเครื่องมือ
                  ที่ใช้ในกระบวนการต่างๆ ในการผลิตเบียร์จึงควรมี
                  มาตรฐานการรับรองจากสถาบันต่างๆ และสร้าง
                  ความมั่นใจในคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพสูงสุด
                  ในการผลิตเบียร์นั่นเอง
                     จากข้อมูลข้างต้นคงท�าให้เรารู้จักเบียร์กันมากขึ้น
                  จะเห็นได้ว่าการผลิตเบียร์นั้นเป็นทั้งวิทยาศาสตร์และ
                  ศิลปะที่ต้องอาศัยองค์ความรู้ ประสบการณ์อย่างมาก
                  ก่อนจะมาถึงผู้บริโภค ซึ่งปัจจุบันก�าลังผลิตใน
                  ประเทศไทยไม่เพียงรองรับต่อการบริโภคภายใน
                  ประเทศ หากแต่ยังส่งออกสร้างรายได้กลับมาให้กับ
                  ประเทศได้อีกด้วย อย่างไรก็ตามเครื่องดื่มที่มี                               LINE @MTTH

                                                                                                  AUG  2019 FOOD FOCUS THAILAND  39


         38-40_Smar Producrion_Mettler.indd   39                                                                     18/7/2562 BE   18:33
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44