Page 45 - FoodFocusThailand No.161 August 2019
P. 45

STRONG QC &
                                                                                                       STRONG QC & QAQA

                   ที่จ�ำเป็นส�ำหรับผลลัพธ์ที่ดีที่สุด ขั้นตอนกำรลงมือ
                   ปฏิบัติ ระยะเวลำในกำรฆ่ำเชื้อ และอุณหภูมิ ก็ควร
                   พิจำรณำอย่ำงเหมำะสมควบคู่ไปด้วย เพรำะ   “EMP คือเครื่องมือส�ำคัญในกำรระบุแหล่ง
                   พำรำมิเตอร์ต่ำงๆ เหล่ำนี้ถือเป็นลักษณะเฉพำะของ  ของกำรปนเปื้อนและประเมินประสิทธิภำพ
                   แต่ละกระบวนกำรผลิตจึงจ�ำเป็นที่จะต้องตรวจสอบ   ของกำรท�ำควำมสะอำด”
                   ประสิทธิภำพด้วยวิธีกำรสุ่มตรวจตัวอย่ำง และท้ำย
                   ที่สุด กำรท�ำควำมสะอำดมีควำมเกี่ยวข้องอย่ำงมำก  “An EMP is an important tool in
                                                                 identifying sources of
                   กับกำรฆ่ำเชื้อ โดยเป็นกระบวนกำรที่เกิดขึ้นหลัง  contamination and measuring
                   จำกกำรท�ำควำมสะอำดเสร็จเรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้   the adequacy of sanitation
                   AOAC ก�ำหนดสำรฆ่ำเชื้อที่ผ่ำนกำรทดสอบตำม           processes.”
                   มำตรฐำนสำรฆ่ำเชื้อที่พื้นผิวสัมผัสอำหำรต้อง
                   ลดปริมำณแบคทีเรียลงร้อยละ 99.999 ของจ�ำนวน
                   เริ่มต้น หรือลดลง 5 logs โดยวิธีกำรฆ่ำเชื้อนั้น
                   สำมำรถใช้ควำมร้อนหรือสำรเคมี กำรใช้น�้ำร้อน
                   เพื่อกำรฆ่ำเชื้อเป็นวิธีทั่วไปที่นิยมใช้กับวัสดุอุปกรณ์
                   ที่มีชิ้นส่วนขนำดเล็ก หรืออุปกรณ์ เครื่องมือ
                   เครื่องใช้ เป็นต้น

                   เทคนิคอย่างง่ายส�าหรับวัดผล
                   การท�าความสะอาดสภาพแวดล้อม
                   ประสิทธิผลของกำรปฏิบัติงำนด้ำนสุขำภิบำลของ
                   โรงงำนจะต้องได้รับกำรตรวจสอบเพื่อให้แน่ใจว่ำ
                   อุปกรณ์กำรผลิตและสภำพแวดล้อมมีควำมสะอำด
                   ผู้ประกอบกำรใช้วิธีกำรตรวจสอบหลำยวิธีทั้งกำร-
                   ตรวจทำงกำยภำพและกำรตรวจจับด้วยภำพ ซึ่งถือ
                   เป็นส่วนหนึ่งของแผนตรวจติดตำมคุณภำพ
                   สิ่งแวดล้อมอย่ำงต่อเนื่อง เทคนิคกำรวัดปริมำณเซลล์
                   ของจุลินทรีย์ทำงอ้อม หรือ ATP bioluminescence
                   systems นั้นก็เป็นอีกวิธีกำรหนึ่งที่นิยมน�ำมำใช้
                   เพื่อทวนสอบกำรท�ำควำมสะอำดโดยให้ผลลัพธ์
                   ที่รวดเร็ว สำมำรถบอกได้ทันทีว่ำสภำพของพื้นผิว
                   ในโรงงำนหลังท�ำควำมสะอำดไปแล้วนั้นสะอำด
                   หรือไม่ หรือยังมีเชื้อจุลิทรีย์อยู่มำกน้อยเพียงใด
                      เทคนิคทำง ATP ควรติดตำมคอนเฟิร์มผล
                   ให้แน่ชัดด้วย เช่น กำรใช้วิธีทดสอบตัวบ่งชี้กำรปนเปื้อน
                   ทำงอ้อม และกำรทดสอบเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรคแบบ
                   เฉพำะเจำะจง โดยกำรทดสอบตัวบ่งชี้กำรปนเปื้อน
                   เป็นกำรทดสอบกำรปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรย์ทั่วไป
                   เช่น โคลิฟอร์ม ฟีคัลโคลิฟอร์ม หรือกำรตรวจนับ
                   จุลินทรีย์ทั้งหมดที่อำจมีอยู่ในอำหำรหรือใน
                   สิ่งแวดล้อมเดียวกันกับเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรคจุลินทรีย์
                   ที่เป็นตัวบ่งชี้เหล่ำนี้จะใช้เพื่อประเมินสุขอนำมัย
                   ในภำพรวมหรือสภำพแวดล้อมที่อำจบ่งบอกถึง
                   กำรมีอยู่ของเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค โดยข้อดีหลักๆ
                   ของกำรใช้จุลินทรีย์ที่เป็นตัวบ่งชี้ในแผนตรวจ-
                   ติดตำมคุณภำพสิ่งแวดล้อม ได้แก่

                                                                                                  AUG  2019 FOOD FOCUS THAILAND  45


         44-47_Strong QC&QA_Samp;ing.indd   45                                                                       19/7/2562 BE   13:22
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50