Page 30 - FoodFocusThailand No.161 August 2019
P. 30
SPECIAL FOCUS
SPECIAL FOCUS
Joy Dell’Aringa, Vikrant Dutta, Ph.D.
Translated and Compiled By: กองบรรณาธิการ
นิตยสาร ฟู้ด โฟกัส ไทยแลนด์
Editorial Team
Food Focus Thailand Magazine
editor@foodfocusthailand.com
เทคโนโลยี PCR และ LAMP
ข้อควรพิจารณาด้านความปลอดภัยอาหาร
เมื่อเลือกวิธีการตรวจวิเคราะห์ระดับโมเลกุล
เทคโนโลยีการตรวจหาเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรคทางอาหารก�าลังพัฒนาไปอย่างต่อเนื่องเพื่อท�าให้การตรวจ
วิเคราะห์มีความรวดเร็ว แม่นย�า และมีประสิทธิภาพ ปัจจุบันมีชุดตรวจวิเคราะห์ที่ใช้งานง่ายในเชิงพาณิชย์
มากมาย ท�าให้ผู้ใช้งานไม่จ�าเป็นต้องมีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับความซับซ้อนของการตรวจวิเคราะห์
ทางเคมีมากนัก อย่างไรก็ตาม การค้นหาเทคโนโลยีที่เหมาะสมที่สุดนั้น สิ่งส�าคัญคือต้องท�าความเข้าใจ
ข้อแตกต่างของหลักการตรวจวิเคราะห์ ผลกระทบต่อการท�างาน ตลอดจนความเสี่ยงต่างๆ ในที่นี่เราจะ
กล่าวถึงความแตกต่างระหว่างการตรวจหาเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรคในระดับโมเลกุล 2 รูปแบบ คือ การใช้เทคนิค
PCR และเทคนิค LAMP
ภาพรวมของเทคนิค PCR และเทคนิค LAMP probes ส�าหรับความเที่ยงตรงของการตรวจวิเคราะห์ด้วยโพรบเหล่านี้แสดง
ในการตรวจวิเคราะห์ด้วยเทคนิคทาง PCR มีความก้าวหน้าไปมากตั้งแต่ ให้เห็นถึงความสามารถในการแยกความแตกต่างของยีนที่อาจจะจ�าเพาะกับ
การย้อมติดสีของ DNA แบบไม่จ�าเพาะอย่างเทคนิค SYBR Green ไปจนถึง สายพันธุ์ใดสายพันธุ์หนึ่ง (Single-Nucleotide Polymorphisms; SNPs) โดย
การใช้โพรบโมเลกุลที่มีล�าดับเบสจ�าเพาะซึ่งมีความแม่นย�าสูง อีกทั้งประสิทธิภาพ เทคนิคการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอในหลอดทดลองภายใต้สภาวะที่ควบคุม หรือ
ของเทคนิค Real-time PCR ในปัจจุบันท�าให้สามารถใช้โพรบในการตรวจจับ Loop-Mediated Isothermal Amplification (LAMP) ซึ่งเป็นเทคนิคการตรวจ
ได้หลากหลายมากขึ้น โดยที่นิยมใช้กันมากที่สุดก็คือ Dual-Labeled วิเคราะห์ที่ไม่ได้ใช้โพรบระดับโมเลกุลเนื่องจากไม่มีโครงสร้างและรูปร่างที่
Fluorescent Probes เช่น FRET, TaqMan probes และ Molecular Beacon แน่นอนของ DNA สายใหม่ที่เกิดขึ้น กล่าวคือเทคนิค LAMP ส่วนมากอาศัย
30 FOOD FOCUS THAILAND AUG 2019
30-33_Special Focus_Lab test.indd 30 19/7/2562 BE 13:11