Page 31 - FoodFocusThailand No.161 August 2019
P. 31

SPECIAL FOCUS

                  การตรวจจับผ่านการสร้างสัญญาณที่ไม่จ�าเพาะ  ในปริมาณมาก การปรับตัวส�าหรับ POCT และการเข้าถึงได้ง่าย เหล่านี้ท�าให้เทคนิคทางด้าน PCR
                  เจาะจง เช่น ATP Bioluminescence หรือ              เป็นแนวทางที่จะยังคงได้รับความนิยมต่อไปในอนาคต
                  การย้อมสีแบบไม่จ�าเพาะเจาะจง             เทคโนโลยีการเพิ่มปริมาณ DNA อย่างเทคนิค LAMP มีความน่าสนใจในสภาพแวดล้อมการทดสอบ
                                                        ที่ไม่ธรรมดา ให้ทางเลือกที่เป็นไปได้ โดยมีเมทริกซ์ที่ไม่ซับซ้อน โดยเฉพาะในสภาพแวดล้อมการทดสอบ
                  PCR & LAMP: รูปแบบของการเพิ่ม         ที่มีตัวอย่างปริมาณน้อย ในอีกมุมหนึ่ง เนื่องจากความรุดหน้าล่าสุดและการเปลี่ยนโฟกัสไปสู่เทคโนโลยี
                  ปริมาณของกรดนิวคลีอิก                 “-omics” นั้น อาจท�าให้เกิดการโต้แย้งถึงความจ�าเป็นในการพัฒนาและปรับปรุงเทคโนโลยีทางด้าน
                  โปรโตคอลการตรวจหาเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรคเพื่อ  PCR อื่นๆ ขึ้นในภายหลัง
                  ความปลอดภัยทางอาหารนั้นมีเป้าหมายเพื่อ
                  ค้นหาเซลล์เดียวของสิ่งมีชีวิตเป้าหมายที่แฝงตัว
                  อยู่ในตัวอย่างที่ค่อนข้างใหญ่ โดยเทคโนโลยี  เอกสารอ้างอิง/Reference
                                                        https://foodsafetytech.com/tag/pathogen-detection/
                  ระดับโมเลกุลจะใช้วิธีการเพิ่มปริมาณ DNA
                  เป้าหมายให้อยู่ในระดับที่ตรวจพบได้ การเพิ่ม
                  ปริมาณของกรดนิวคลีอิกทั้งในด้านของ
                  เทคโนโลยี PCR และไอโซเทอร์มอลนั้นเริ่มต้น
                  จากการสร้างปริมาณ DNA ที่มีความหลากหลาย
                  โดยปริมาณ DNA ที่สร้างขึ้นมาใหม่นี้จะมีทั้งชนิด
                  ที่ไม่จ�าเพาะ Non-specific amplifications (NSA)
                  และจ�าเพาะต่อ DNA เป้าหมาย ในทางทฤษฎี
                  ความเข้มข้นของปริมาณ DNA เป้าหมายที่สร้าง
                  ขึ้นมานั้นจะเพิ่มขึ้นเมื่อเวลาผ่านไปจนถึงระดับ
                  ที่มากกว่า NSA ซึ่งในขั้นตอนนี้สามารถตรวจจับ
                  สัญญาณที่มาจากปริมาณ DNA เป้าหมายที่เพิ่มขึ้น
                  ได้ องค์ประกอบของปฏิกิริยาที่หลากหลาย
                  เช่น ความเข้มข้นของ DNA เป้าหมายเอนไซม์
                  พอลิเมอเรส บัฟฟอร์ และไพรเมอร์ ล้วนมีบทบาท
                  ส�าคัญในการเก็บรักษาพลังงานเพื่อใช้ในขั้นตอน
                  การเพิ่มปริมาณต่อไป ทั้งยังท�าหน้าที่เป็นหลัก
                  ในการท�าให้ปฏิกิริยาด�าเนินต่อไปจนเสร็จสิ้น


                  การประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร
                  ในบรรดาวิธีการทดสอบในระดับโมเลกุลนั้น ทั้ง
                  เทคนิค PCR และไอโซเทอร์มอลเทคโนโลยีนั้น
                  มีการน�ามาใช้งานและจะยังคงใช้วิเคราะห์งานด้าน
                  ความปลอดภัยอาหารต่อไป ดังนั้นการพัฒนา
                  อย่างค่อยเป็นค่อยไปของเทคโนโลยีเหล่านี้
                  สามารถให้ข้อมูลที่เป็นลักษณะเฉพาะส�าหรับ
                  ภาคอุตสาหกรรมอาหาร
                     ที่ผ่านมามีผู้ใช้หลายคนรายงานเกี่ยวกับ
                  จุดแข็งและข้อบกพร่อง รวมถึงเส้นทางการพัฒนา
                  อย่างต่อเนื่องนั้นได้น�าไปสู่เทคโนโลยีที่เชื่อถือได้
                  ซึ่งยังคงเป็นมาตรฐานส�าหรับเทคโนโลยีการตรวจ
                  วิเคราะห์ระดับโมเลกุล ความสามารถในการ-
                  ปรับตัวและข้อได้เปรียบ เช่น การรวมองค์ความรู้
                  การท�ามัลติเพล็กซ์ ความสามารถในการเชื่อมต่อ
                  การท�างานกับหุ่นยนต์ส�าหรับการทดสอบงาน

                                                                                                  AUG  2019 FOOD FOCUS THAILAND  31


         30-33_Special Focus_Lab test.indd   31                                                                      20/7/2562 BE   13:43
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36