Page 23 - Meat&Poultry Edition Supplement
P. 23

MEAT & POULTRY Supplement Edition



                    โรงเรือนเดียวกัน ตลาดเนื้อไก่โตช้าใน  Better Meat and Less Antibiotics
                    เนเธอร์แลนด์คิดเป็นสัดส่วนราวร้อยละ 20   Besides animal welfare, meat quality is an incentive for retailers to switch from regular
                    และฉลากได้ติดตาเป็นที่รู้จักของผู้บริโภค  meat to concept chickens more rapidly. Problems with meat quality that occur in meat of
                                                          regular broilers, are almost non-existent in slower growing concept chickens. This mainly
                    เรียบร้อยแล้ว                         counts for ‘wooden breast’, ‘white striping’ and so called ‘spaghetti meat’ in which muscle
                       อย่างไรก็ตาม  การเปลี่ยนแปลง                  fibers fall apart. More support for the new concepts is the use of antibiotics. Increasing
                    ครั้งใหญ่เกิดขึ้นอีกครั้งในปี 2556 เมื่อ            concerns about the health risks caused by resistance development as a result of careless
                    ร้านค้าปลีกทุกร้านตัดสินใจเปลี่ยนจากการ-  use of antibiotics both in people and animals, increases the demand for livestock products
                                                          that were produced without the use of antibiotics. Broiler farmers with slower growing
                    สั่งซื้อเนื้อไก่สดทั่วไปเป็นเนื้อไก่ที่เลี้ยงโตช้า   chicks and a lower occupancy use little or no antibiotics.
                    สืบเนื่องจากการรณรงค์อย่างแข็งขันของ
                    กลุ่มนักเคลื่อนไหว “เว้กเกอร์ ไดเออร์” โดย
                    ในปี 2555 ได้มีการกดดันร้านค้าปลีกให้
                    ขอร้องผู้ซื้อเลิกซื้อสินค้าที่เรียกกันว่า
                    “ไก่ระเบิด  หรือพลอฟคิป”  จนค�าว่า
                    พลอฟคิปถูกรณรงค์เป็นกระแสต่อต้านที่
                    เข้มแข็ง ขณะที่ห้างร้านค้าปลีก ซูเปอร์-
                    มาร์เก็ต ก็ได้สร้างการเปลี่ยนแปลงแบบ
                    พลิกโฉมหน้าการค้าปลีกเนื้อไก่ภายในระยะ
                    เวลาเพียง 3 ปี เหตุการณ์ครั้งนั้นเป็น
                    เอกลักษณ์ของชาวเนเธอร์แลนด์ และเชื่อได้
                    ว่าคงไม่ได้เกิดขึ้นได้ง่ายๆ ในประเทศอื่นๆ
                    ในโลก  นับตั้งแต่ปี  2560  เป็นต้นมา
                    เนื้อไก่สดที่จ�าหน่ายในซูเปอร์มาร์เก็ตของ
                    เนเธอร์แลนด์ก็มาจากสายพันธุ์ไก่โตช้า


                    สินค้าเนื้อไก่ที่มีคุณภาพดีขึ้น
                    และใช้ยาปฏิชีวนะลดลง
                    นอกเหนือจากสวัสดิภาพสัตว์ที่ดี
                    ผู้ประกอบการยังได้ประโยชน์จากคุณภาพ
                    ของเนื้อไก่เป็นผลพลอยได้ ปัญหาคุณภาพ
                    เนื้อไก่พบได้เสมอในการเลี้ยงไก่โตเร็วตาม
                    ปกติ แต่การเลี้ยงไก่โตช้า ปัญหาคุณภาพ
                    เนื้อไก่แทบจะไม่ปรากฏให้เห็นเลย
                    โดยเฉพาะกล้ามเนื้ออกแข็งเหมือนไม้
                    กล้ามเนื้อลายเป็นทางสีขาว หรือกล้ามเนื้อยุ่ย
                    เป็นเส้นสปาเก็ตตี้ เห็นเส้นใยกล้ามเนื้อฉีก
                    เป็นชิ้นๆ  ก็จะค่อยๆ  คลี่คลายหายไป
                    ยิ่งปัญหาส�าคัญของยาปฏิชีวนะตกค้าง
                    สร้างความวิตกกังวลเกี่ยวกับความเสี่ยง
                    ด้านสุขภาพที่ท�าให้เกิดปัญหาเชื้อดื้อยา ซึ่ง
                    เป็นผลมาจากการใช้ยาปฏิชีวนะอย่าง
                    พร�่าเพรื่อ ทั้งในมนุษย์และสัตว์ ขณะที่ความ-
                    ต้องการของตลาดเนื้อไก่ที่ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะ
                    ก็ก�าลังเพิ่มสูงขึ้นในฟาร์มเลี้ยงไก่ทั่วโลก


                                                                                                          OCT 2019  NO. 55 23


         12-24_��������� 2_Trend.indd   23                                                                           28/8/2562 BE   13:49
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28