Page 37 - Meat&Poultry Edition Supplement
P. 37
MEAT & POULTRY Supplement Edition
การใช้ยากันบิดกลุ่มไอโอโนฟอร์ ได้แก่ The introduction of the first ionophore coccidiostat (monensin) in the 1970’s was an
โมเนนซิน เป็นครั้งแรกในทศวรรษที่ 1970 นับเป็น important breakthrough in the fight against coccidiosis. Before that, coccidiosis outbreaks
จุดเปลี่ยนส�าคัญในการต่อสู้กับโรคบิด ก่อนหน้านั้น were frequent and the disease was more difficult to treat and to prevent, because only
coccidiostats that did not belong to the ionophores were available. They were far less
การเกิดโรคบิดพบได้บ่อย และโรคนี้รักษาได้ effective because the parasite was able to rapidly build up resistance to them.
ยากกว่าการป้องกัน เนื่องจากยากันบิดที่ไม่ใช่ Broiler farmers in the European Union make extensive use of these ionophore
กลุ่มไอโอโนฟอร์เท่านั้นที่มีการใช้กัน แต่ไม่ค่อย coccidiostats in poultry feed these days, because they prevent health problems caused
by the single-celled Eimeria parasite. At this moment, the European Union classifies
มีประสิทธิภาพนัก เพราะเชื้อโปรโตซัวสามารถ ionophore coccidiostats as feed additives. For years, this has been the subject of a
ดื้อยาได้อย่างรวดเร็ว recurring intense debate. Some parties think it is better to label coccidiostats as antibiotics,
ฟาร์มไก่เนื้อในสหภาพยุโรปนิยมใช้ยากันบิด while others think they should remain available as feed additives.
กลุ่มไอโอโนฟอร์ในอาหารสัตว์ปีกกันอย่าง
แพร่หลายในปัจจุบัน เนื่องจากสามารถป้องกัน
ปัญหาสุขภาพจากปรสิตเซลล์เดียวที่ชื่อว่า
ไอเมอเรีย (Eimeria) ในปัจจุบัน สหภาพยุโรป
ได้จัดยากันบิดกลุ่มไอโอโนฟอร์ไว้เป็นวัตถุเติม
อาหารสัตว์ เป็นเวลาหลายปีแล้วที่เรื่องนี้กลับ
มาเป็นประเด็นถกเถียงกัน บางกลุ่มคิดว่าจะ
เป็นการดีกว่าที่จะติดฉลากให้ยากันบิดเป็น
ยากันบิด ขณะที่บางกลุ่มคิดว่ายากันบิดควรจัด
เป็นวัตถุเติมอาหารสัตว์เหมือนเดิม
ท�ำไมสหภำพยุโรปต้องกำรให้ยำกันบิด
ยังเป็นวัตถุเติมอำหำรสัตว์
ด้วยเหตุผลหลายประการที่สหภาพยุโรปเลือก
ที่จะจัดยากันบิดเป็นวัตถุเติมอาหารสัตว์ โรคบิด
เป็นโรคประจ�าถิ่น ปรสิตพบได้ทั่วไป และทนทาน
ต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมาก นอกเหนือจากนั้น
ยังปรากฏในทุกระบบโรงเรือน สัตวแพทย์
ไม่จ�าเป็นต้องเข้าฟาร์มเมื่อปรากฏปรสิตขึ้น
เนื่องจากจะเป็นการเพิ่มต้นทุนที่ไม่จ�าเป็นส�าหรับ
ค่าใช้จ่ายในการตรวจเยี่ยม การจ�าแนกให้เป็น
ยาปฏิชีวนะนั้นหมายความว่าจะไปตรงเข้ากับ
ความต้องการด้านการผลิตในการจ�ากัดการใช้
ยาปฏิชีวนะ และกลายเป็นต้นทุนที่ไม่จ�าเป็นอีก
นอกจากนั้น การก�าหนดให้ยากันบิดเป็นวัตถุเติม
อาหารสัตว์เป็นหลักประกันว่าจะมีการให้ยาใน
ขนาดที่ถูกต้อง โดยแบ่งให้ในสูตรอาหารสัตว์
และป้องกันมิให้ขนาดยาสูงหรือต�่าเกินไป
Berrie Klein Swormink
Correspondent
กำรพัฒนำเชื้อบิดดื้อยำ
แปลและเรียบเรียงโดย/Translated and Compiled By: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ น.สพ. ดร.วิษณุ วรรณแสวง
การพัฒนาเชื้อบิดดื้อยา เมื่อเชื้อบิดดื้อต่อยากลุ่ม
Assistant Professor Dr.Wisanu Wanasawaeng
DVM MSc PhD DTBVP (Pathology) ไอโอโนฟอร์แล้วจะดื้อยาในมนุษย์ด้วยหรือไม่
Director of Poultry Diagnostic Laboratory and Food Safety
SAHA Farms Co., Ltd. การวิจัยด้านความเสี่ยงจากการใช้ยากันบิดกลุ่ม
wpuy@hotmail.com ไอโอโนฟอร์ โดยคณะกรรมาธิการด้านวิทยาศาสตร์
OCT 2019 NO. 55 37
36-42��������� 4_Feed.indd 37 28/8/2562 BE 14:20